3 ข้อควรรู้ในการใช้ Solvent 3040 หรือ น้ำมันก๊าดให้ปลอดภัย

Solvent 3040 หรือที่ทุกคนรู้จักกันดีในชื่อ à¸™à¹‰à¸³à¸¡à¸±à¸™à¸à¹Šà¸²à¸” น้ำมันก๊าดซักแห้ง  น้ำมันเตา หรือสามารถใช้เป็นน้ำมันตะเกียงให้เเสงสว่างได้ รวมไปถึงยังใช้ประโยชน์เป็นเชื้อเพลิงในยานพาหนะต่างๆ เเละเครื่องจักรกลในโรงงาน ซึ่ง Solvent 3040 หรือ à¸™à¹‰à¸³à¸¡à¸±à¸™à¸à¹Šà¸²à¸” à¸¡à¸µà¸¥à¸±à¸à¸©à¸“ะเป็นของเหลวใส ที่ค่อนข้างมีกลิ่นฉุน จึงเหมาะใช้เป็นตัวทำละลาย ใช้เป็นสารชะล้างทำความสะอาดคราบน้ำมันจาระบี คราบสี แลคเกอร์ วานิช ยางไม้ เป็นต้น

เเต่ว่าอย่างไรก็ตาม น้ำมันก๊าดถือว่าเป็นสารเคมีอุตสาหกรรมที่ไวไฟเเละมีพิษต่อร่างกายอย่างใช้อย่างไม่ระมัดระวัง ผู้ใช้งานจึงควรศึกษาข้อควรระวังเพิ่มเติมเพื่อความปลอดภัยในการทำงาน

 

 

 

 

น้ำมันก๊าด Solvent 3040

 

Solvent 3040 ข้อควรระมัดระวังในการใช้งาน Solvent 3040


ไม่ว่าจะเป็น น้ำมันก๊าด Solvent 3040 หรือสารเคมีชนิดอื่นๆ หากได้สัมผัสในปริมานมากหรือใช้งานไม่ระมัดระวัง ก็อาจจะเป็ยผลเสียได้ เพราะสาเคมีประเภทนี้มีลักษณะเหลว ระเหยง่าย เเละไวไฟ เป็นพิษต่อระบบหายใจ เเละสามารถเป็นพิษกับสิ่งมีชีวิตในน้ำ ในระยะยาวได้ ถ้ามีการปล่อยลงสู่ทะเลหรือเเม่น้ำ

 

 

1.หลีกเลี่ยงการเก็บจากเเหล่งกำเนิดประกายไฟ


ไม่ควรใช้งาน Solvent 3040 ในพื้นที่ที่มีประกายไฟหรือมีความร้อนสูง หรือใช้อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องที่ไม่ก่อให้เกิดประกายไฟ
ควรมีมาตรการการป้องกันไฟฟ้าสถิตย์ หรือใช้สารเคมีเฉพาะภายนอกอาคารหรือพื้นที่ที่มีการระบายอากาศได้ดี เเต่ถ้าหากเกิดไฟไหม้จากสารเคมี à¸„วรใช้ผงเคมีสำหรับดับไฟโดยเฉพาะ หรือเครื่องดับเพลิงชนิดที่ใช้คาร์บอนไดออกไซด์

 

 

2.ควรใส่ใจเก็บสารเคมีในภาชนะที่มิดชิด ไม่โดนแสงแดด ไม่มีน้ำท่วมขัง


      ระวังการเกิดไฟฟ้าสถิตสะสมจากบรรจุภัณฑ์ที่ใช้บรรจุสารเคมี ให้ปิดฝาภาชนะให้แน่นเมื่อไม่ใช้งาน หากใช้งานให้เคลื่อนย้ายภาชนะด้วยความระมัดระวัง อย่าให้โดนหรือสัมผัสผิวหนัง เเละควรเก็บในที่เย็นและอากาศถ่ายเทได้สะดวก ส่วนสำหรับพื้นที่ในการจัดเก็บ ควรเป็นพื้นที่สำหรับเก็บสารเคมีโดยเฉพาะ ไม่ปะปนกัน

 

 

3.ผู้ใช้งานควรใส่อุปกรณ์ป้องกันให้เหมาะสม


      ป้องกันไอระเหยจากสารเคมีด้วยการใส่หน้ากากให้เหมาะสม สวมแว่นตานิรภัยที่มีที่ครอบตา และอย่าลืมป้องกันมือหรือผิวหนังจากการสัมผัสสารเคมีด้วยการใส่ถุงมือ หรือชุดป้องกันที่ทำจาก PVC และเมื่อใช้งานสารเคมีเสร็จแล้ว ให้เก็บอุปกรณ์ให้เรียบร้อย เเละผู้ใช้งานต้องอย่าลืมล้างมือให้สะอาด และจัดการเสื้อผ้าหรือรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีให้เป็นระเบียบเรียบร้อย

 

หากต้องการสอบถามเกี่ยวกับ à¸™à¹‰à¸³à¸¡à¸±à¸™à¸à¹Šà¸²à¸” (Solvent 3040)  หรือสารเคมีอุตสาหกรรมอื่นๆ เช่น น้ำมันเบนซิน à¸—ินเนอร์ AAA à¹„ฮโดรคาร์บอน โซลเว้นท์ ทูโลอีน เมทานอล เอทานอล ซึ่งทาง à¸šà¸£à¸´à¸©à¸±à¸— ที.แอล.ดี. เคมิคอลส์ จำกัด à¸ˆà¸³à¸«à¸™à¹ˆà¸²à¸¢à¸™à¹‰à¸³à¸¡à¸±à¸™à¹à¸¥à¸°à¸™à¹‰à¸³à¸¡à¸±à¸™à¸«à¸¥à¹ˆà¸­à¸¥à¸·à¹ˆà¸™ เคมีอุตสาหกรรม น้ำมันเครื่อง สำหรับงานอุตสาหกรรมทุกประเภท ไม่ว่าจะโรงพิมพ์ โรงพลาสติก อู่ซ่อมรถ โรงหล่อ โรงงานเฟอร์นิเจอร์ งานจิวเวอร์รี่ Solvent 3040 ร้านทำทอง ยินดีให้บริการเเละคำปรึกษา

 

สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ à¸šà¸£à¸´à¸©à¸±à¸— ที.แอล.ดี. เคมิคอลส์ จำกัด

tldchemical.pagesthai.com

www.tldchemical.co.th

www.tld-chemical.com

 

-------------------------------------------------------

บทความที่เกี่ยวข้อง

ประโยชน์ของน้ำมันก๊าดในอุตสาหกรรม 

มาทำความรู้จักเคมีอุตสาหกรรมกันเถอะ 

Isopropanol (IPA) คืออะไร

ทำความรู้จักกับ อะไหล่รถเกี่ยว

อะไหล่รถเกี่ยว มีอะไรบ้าง

 

 

 

 

    รถเกี่ยวข้าว à¹€à¸„รื่องจักรกลเกษตรที่สำคัญของชาวนา มีการใช้งานอย่างแพร่หลายเพราะช่วยให้การเก็บเกี่ยวเป็นไปอย่างรวดเร็ว ไม่เปลี่ยนแรงงาน และประหยัดค่าใช้จ่ายในการจ้างคนอีกด้วย สำหรับส่วนประกอบของรถเกี่ยวข้าวมีอะไรบ้าง ดาวทองจักรกลพาทุกท่านไปทำความรู้จักกับ à¸­à¸°à¹„หล่รถเกี่ยว à¸à¸±à¸™à¸„่ะ

 

 

 

 

 

 

 

    1. ชุดช่วงล่างของรถเกี่ยวข้าว ทำหน้าที่ในการรับน้ำหนักทั้งหมด และเป็นส่วนยึดเกาะพื้นเพื่อการเคลื่อนที่ โดยจะมีหน้าตาคล้ายกับตีนตะขาบของรถแทรกเตอร์ ซึ่งจะประกอบไปด้วย โครงเครื่องล่าง โซ่ ล้อขับ ล้อนำ ลูกกลิ้งโซ่บน - โซ่ล่าง และตีนตะขาบ

    2. ชุดถ่ายทอดกำลังและชุดขับเคลื่อน เป็นส่วนที่ถ่ายทอดกำลังจากเครื่องยนต์ไปยังระบบขับกลไกต่าง ๆ ซึ่งอะไหล่รถเกี่ยวที่ประกอบอยู่ในชุดขับเคลื่อนนี้ ได้แก่ มู่เล่ย์และสายพาน ชุดระบบไฮดรอลิค

    3. ล้อตีนตะขาบ เป็นส่วนที่สำคัญเพราะใช้ในการขับเคลื่อน โดยจะต้องเลือกใช้งานตีนตะขาบที่มีความสัมพันธ์กับน้ำหนักตัวเครื่อง

    4. ชุดเครื่องนวด จะทำหน้าที่ในการแยกเมล็ดออกจากรวงข้าว โดยประกอบด้วยตะแกรงนวดบน ตะแกรงนวดล่าง และลูกนวด

    5. เครื่องยนต์ต้นกำลัง จะเป็นเครื่องยนต์ดีเซล ซึ่งมีกำลังเครื่องอยู่ระหว่าง 180 ถึง 260 แรงม้า

    6. ที่บรรจุข้าวเปลือก เป็นส่วนที่ไว้พักเมล็ดข้าวที่ได้จากการนวด เพื่อรอลำเลียงไปยังรถบรรทุก

    7. สถานีควบคุม จะมีเบาะที่นั่งสำหรับรถเกี่ยวและมีระบบบังคับต่าง ๆ สำหรับคนขับ เพื่อใช้ในการควบคุมรถเกี่ยวข้าว

    8. ชุดหัวเกี่ยว ทำหน้าที่ในการตัดและลำเลียงต้นข้าวไปยังชุดเครื่องนวดเพื่อแยกเมล็ด โดยจะประกอบไปด้วย 3 ส่วน

         - ล้อโน้ม ทำหน้าที่โน้มต้นข้าวเข้าหาใบมีด

         - ชุดใบมีด ทำหน้าที่ตัดต้นข้าวให้ขาดจากโคนต้นข้าว

         - เกลียวลำเลียงหน้า จะรวบรวมต้นข้าวมายังส่วนหน้าของชุดหัวเกี่ยว

    9. ช่องทางออกเปลือกข้าว ช่องทางการปล่อยข้าวเปลือกที่ผ่านการนวดไปยังที่บรรจุข้าวเปลือก

    10. ช่องทางออกของฟาง อยู่ทางด้านหลังของรถเกี่ยวข้าว

 

 

    ต้องการอะไหล่รถเกี่ยวข้าว อะไหล่รถเกี่ยว คุณภาพดี ราคาเป็นมิตรกับเกษตรกร à¸”าวทองจักรกล à¸œà¸¹à¹‰à¸™à¸³à¹€à¸‚้าและจำหน่ายอะไหล่รถเกี่ยว อะไหล่รถไถ อุปกรณ์ต่อพ่วงรถไถ à¸­à¸¸à¸›à¸à¸£à¸“์ต่อพ่วงรถแทรกเตอร์ จำหน่ายทั้งส่ง-ปลีก บริการจัดส่งทั่วประเทศ

 

 

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

Tel : 062-597-1555

E-mail : [email protected]

Website : https://daothongjakkhon.com/

 

 

 

 

 

อ้างอิงเนื้อหา : http://industrial.brandrankup.com/13ส่วนประกอบของรถเกี่ยวข้าว/

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15